แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
วิชาเลือกเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
วิชา การใช้ห้องสมุด
2 เวลา 40
ชั่วโมง
เรื่อง
ความหมายและประโยชน์วัสดุห้องสมุด เวลา
2 ชั่วโมง
ครูผู้สอน นางพิชชาภา
สุนทรสถิตย์ โรงเรียนประสาทรัฐประชากิจ
1.สาระสำคัญ
วัสดุห้องสมุดมีไว้เพื่อการอ่านและการศึกษาค้นคว้า
ซึ่งห้องสมุดได้จัดหา รวบรวม จัดเก็บ เพื่อให้บริการในห้องสมุด วัสดุห้องสมุดแบ่งออกเป็น
2 ประเภท คือ วัสดุประเภทสิ่งพิมพ์ (Printed materials) และวัสดุประเภทไม่ใช่สิ่งพิมพ์ (Non-Printed Materials)
2.ผลการเรียนรู้
2.1 นักเรียนสามารถอธิบายความหมายประโยชน์และประเภทของวัสดุห้องสมุดได้
3.สาระการเรียนรู้
3.1 ความหมายของวัสดุห้องสมุด
วัสดุห้องสมุด (Library materials) หรือ
วัสดุสารนิเทศ (Information Resources) หมายถึง
วัสดุที่ใช้เพื่อการอ่านและการศึกษาค้นคว้าทุกรูปแบบ ทุกสาขาวิชา ซึ่งห้องสมุดได้จัดหามา
และจัดเก็บรวบรวมเอาไว้เพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้ในห้องสมุด
3.2 ประโยชน์ของวัสดุห้องสมุด
วัสดุห้องสมุดมีความสำคัญและประโยชน์อย่างยิ่งต่อการศึกษาค้นคว้า
เสริมสร้างปัญญา ของคน ซึ่งพอสรุปได้ดังนี้
3.2.1 เป็นบันทึกแห่งภูมิปัญญาของมนุษย์
ใช้สืบทอดความคิด ความรู้ เรื่องราวต่าง ๆศิลปวัฒนธรรม อารยธรรมจากคนรุ่นหนึ่งไปยังคนอีกรุ่นหนึ่งต่อ
ๆ กันมา
ซึ่งวิชาความรู้เหล่านี้เป็นรากฐานสำคัญในการสร้างความเจริญรุ่งเรืองของสังคมมนุษย์
3.2.2 ความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร
จากวัสดุห้องสมุดซึ่งมีอยู่หลายชนิดหลายรูปแบบ ช่วยขจัดความไม่รู้ในเรื่องต่าง ๆ และสร้างสติปัญญา
3.2.3 ข้อมูลจากวัสดุห้องสมุดที่ถูกต้อง ครบถ้วน
และทันเวลาจะช่วยในการตัดสินใจแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การขาดสารนิเทศอาจทำให้เกิดปัญหาในการตัดสินใจ ดังนั้นผู้บริหารยุคใหม่จึงควรมีข้อมูลหรือวัสดุห้องสมุดเพียงพอแก่การวางแผนเพื่อหลีกเลี่ยงข้อผิดพลาดต่าง
ๆ
3.2.4 ความรู้ ข้อมูลต่างๆ จากวัสดุห้องสมุดก่อให้เกิดการศึกษาค้นคว้าและการพัฒนาวิทยาการต่าง
ๆ ทั้งในด้านวิทยาศาสตร์ และสังคมศาสตร์
3.2.5 ความรู้จากทรัพยากรสารนิเทศบางชนิดก่อให้เกิดความจรรโลงใจ
ความซาบซึ้ง เกิดความคิดสร้างสรรค์ ก่อให้เกิดแรงบันดาลใจในการคิด
และทำแต่สิ่งที่ดีงามมีคุณค่าแก่การ ดำเนินชีวิต
3.2.6 หนังสือบางเรื่อง
โสตทัศนวัสดุบางชนิดทำให้เกิดความเพลิดเพลิน ผ่อนคลายความตึงเครียด ช่วยให้เกิดการพักผ่อนหย่อนใจ
ซึ่งมีผลสำคัญและเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการดำเนินชีวิตให้เป็นปกติสุขได้ไม่น้อยไปกว่าความต้องการด้านอื่น
ๆ ซึ่งอยู่ที่การเลือกใช้สารนิเทศที่เหมาะสมและตรงกับความต้องการอย่างแท้จริง
3.3 ประเภทของวัสดุห้องสมุด
วัสดุห้องสมุดมีอยู่มากมายหลายรูปแบบนั้น
พอจะแบ่งตามลักษณะที่ปรากฏได้ 2 ประเภทใหญ่ ๆคือ
3.3.1 วัสดุประเภทสิ่งพิมพ์ (Printed
materials)
3.3.2 วัสดุประเภทไม่ใช่สิ่งพิมพ์
(Non-Printed Materials)
4.การบูรณาการกับหลักแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
1.ความพอประมาณ
-
ผู้เรียนได้เรียนรู้การจัดสรรเวลา ให้เกิดประโยชน์ ประหยัดและคุ้มค่า
-
ผู้เรียนเรียนรู้ในการทำกิจกรรม ภาระงานได้เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถตามวัยของผู้เรียน
2.ความมีเหตุมีผล
-
ส่งเสริมกระบวนการทำงาน การคิด การแก้ปัญหาในการทำงานและชีวิตประจำวัน
- ได้ฝึกการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
3. การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
-
รู้จักการวางแผน กระบวนการทำงานอย่างเป็นระบบให้ประสบความสำเร็จ
-
ปลูกฝังจิตสำนึกเรื่องวัสดุห้องสมุด
-
ได้ฝึกทักษะกระบวนการทำงานของตนเองร่วมกับผู้อื่นอย่างปลอดภัย
4.เงื่อนไขความรู้
- รอบรู้ เกี่ยวกับความหมายวัสดุห้องสมุด, ประโยชน์วัสดุห้องสมุด , ประเภทวัสดุห้องสมุด
- เกี่ยวกับปฏิบัติตนในการใช้ห้องสมุดได้ถูกต้อง
5.เงื่อนไขคุณธรรม
-
มีความขยันมั่นเพียร รับผิดชอบ ความอดทน เพียรพยายามในการทำงาน และตรงต่อเวลา
5.กิจกรรมการเรียนการสอน
คาบเรียนที่ 1
1. นักเรียนและครูสนทนาเกี่ยวกับความหมายประโยชน์วัสดุห้องสมุด
2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายว่าความหมายประโยชน์วัสดุห้องสมุดใดที่มีความรู้
หลากหลายมากที่สุด
3. ให้นักเรียนสำรวจหาความหมายประโยชน์วัสดุห้องสมุด
มีอะไรบ้าง
คาบเรียนที่ 2
1. ครูอธิบายความหมายและการเลือกวัสดุสารนิเทศให้นักเรียนทราบ
2.
นักเรียนบอกการเลือกวัสดุสารนิเทศและครูอธิบายเพิ่มเติม
3.
ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงการเลือกวัสดุสารนิเทศโดยให้นักเรียนช่วยกันบอกถึงการเลือกวัสดุสารนิเทศของห้องสมุด
4. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปหลักเกณฑ์ในการเลือกและการจัดหาวัสดุสารนิเทศ
6.สื่อการเรียนการสอน
1. ใบคำสั่ง
2. ใบความรู้
3. ใบงาน
4. เฉลยใบงาน
7.แหล่งเรียนรู้
1. ห้องสมุดโรงเรียน
2. อินเตอร์เน็ตจากศูนย์สารสนเทศของโรงเรียน
8.การวัดและประเมินผล
วิธีการวัด/สิ่งที่ต้องวัด
1. บันทึกการสังเกตพฤติกรรมการร่วมกิจกรรมกลุ่ม และการนำเสนอผลงาน
2. บันทึกการสัมภาษณ์การร่วมกิจกรรมในการจัดการเรียนรู้
3. ตรวจแบบฝึกหัดท้ายแผนการจัดการเรียนรู้
เครื่องมือการวัด
1. แบบสังเกตพฤติกรรม
2. ใบงาน
3. แบบฝึกหัดท้ายแผนการจัดการเรียนรู้
การประเมินผล
1. เกณฑ์ผ่านการประเมินใบงานได้คะแนนร้อยละ 50
ขึ้นไป
2. เกณฑ์ผ่านการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
3 = ดี 2 =
พอใช้ 1 =
ต้องปรับปรุง
9.กิจกรรมเสนอแนะ
....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
10.ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้บริหารโรงเรียน
........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
(ลงชื่อ).................................................
(นายมงคล
ชื่นชม)
ผู้อำนวยการโรงเรียนประสาทรัฐประชากิจ
............./............../.............
11.บันทึกผลหลังการสอน
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรค
........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
แนวทางแก้ไข
........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
(ลงชื่อ)
ครูผู้สอน
(นางพิชชาภา สุนทรสถิตย์)
............./............/............
แบบสังเกตพฤติกรรม (ครูประเมิน)
********************************
คำชี้แจง แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน สำหรับครูประเมินนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรมโครงงาน
ระดับ 3 หมายถึง นักเรียนมีพฤติกรรมในระดับดีมาก
ระดับ 2 หมายถึง นักเรียนมีพฤติกรรมในระดับ ดี
ระดับ 1 หมายถึง นักเรียนมีพฤติกรรมในระดับ ควรปรับปรุง
ชื่อ
- สกุล
|
ความระตือรือร้น(3)
|
ความรับผิดชอบ(3)
|
ปรึกษาหารือในกลุ่ม(3)
|
ความร่วมมือในกลุ่ม(3)
|
ตั้งใจทำกิจกรรมใบงาน(3)
|
พูดแสดงความคิดเห็น(3)
|
มีความคิดริเร่มสร้างสรรค์(3)
|
แสดงความคิดเห็น(3)
|
รวมคะแนน(24)
|
1
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
2
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
3
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
4
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
5
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
6
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
7
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
8
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
9
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
10
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
11
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
12
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
14
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
15
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ลงชื่อ……………………………….ผู้ประเมิน
(……………………………….)

1.
ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ตามที่ครูกำหนด
ให้แล้วเสร็จภายใน 10 นาที
2. ให้นักเรียนร่วมกันทำใบงาน ให้เสร็จภายใน
10 นาที
3. นักเรียนตรวจคำตอบจากใบเฉลย
4. เก็บรวบรวมใบความรู้ ใบงาน
และใบเฉลย
ใส่ซองส่งครูให้เรียบร้อย

คำชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ ตามที่ครูกำหนด ให้แล้วเสร็จภายใน 10
นาที
หลังจากนั้นให้ร่วมกันทำใบงาน
1. ความหมายของวัสดุห้องสมุด
วัสดุห้องสมุด (Library materials) หรือ วัสดุสารนิเทศ (Information Resources) หมายถึง
วัสดุที่ใช้เพื่อการอ่านและการศึกษาค้นคว้าทุกรูปแบบ ทุกสาขาวิชา ซึ่งห้องสมุดได้จัดหามา
และจัดเก็บรวบรวมเอาไว้เพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้ในห้องสมุด
2. ประโยชน์ของวัสดุห้องสมุด
วัสดุห้องสมุดมีความสำคัญและประโยชน์อย่างยิ่งต่อการศึกษาค้นคว้า
เสริมสร้างปัญญา ของคน ซึ่งพอสรุปได้ดังนี้
2.1 เป็นบันทึกแห่งภูมิปัญญาของมนุษย์ ใช้สืบทอดความคิด ความรู้ เรื่องราวต่าง
ๆ ศิลปวัฒนธรรม อารยธรรมจากคนรุ่นหนึ่งไปยังคนอีกรุ่นหนึ่งต่อ ๆ กันมา
ซึ่งวิชาความรู้เหล่านี้เป็นรากฐานสำคัญในการสร้างความเจริญรุ่งเรืองของสังคมมนุษย์
2.2 ความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร จากวัสดุห้องสมุดซึ่งมีอยู่หลายชนิดหลายรูปแบบ ช่วยขจัดความไม่รู้ในเรื่องต่าง
ๆ และสร้างสติปัญญา
2.3 ข้อมูลจากวัสดุห้องสมุดที่ถูกต้อง ครบถ้วน
และทันเวลาจะช่วยในการตัดสินใจแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การขาดสารนิเทศอาจทำให้เกิดปัญหาในการตัดสินใจ
ดังนั้นผู้บริหารยุคใหม่จึงควรมีข้อมูลหรือวัสดุห้องสมุดเพียงพอแก่การวางแผนเพื่อหลีกเลี่ยงข้อผิดพลาดต่าง
ๆ
2.4 ความรู้ ข้อมูลต่างๆ จากวัสดุห้องสมุดก่อให้เกิดการศึกษาค้นคว้าและการพัฒนาวิทยาการต่าง
ๆ ทั้งในด้านวิทยาศาสตร์ และสังคมศาสตร์
2.5 ความรู้จากทรัพยากรสารนิเทศบางชนิดก่อให้เกิดความจรรโลงใจ ความซาบซึ้ง เกิดความคิดสร้างสรรค์
ก่อให้เกิดแรงบันดาลใจในการคิด และทำแต่สิ่งที่ดีงามมีคุณค่าแก่การ ดำเนินชีวิต
2.6 หนังสือบางเรื่อง โสตทัศนวัสดุบางชนิดทำให้เกิดความเพลิดเพลิน
ผ่อนคลายความตึงเครียด ช่วยให้เกิดการพักผ่อนหย่อนใจ
ซึ่งมีผลสำคัญและเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการดำเนินชีวิตให้เป็นปกติสุขได้ไม่น้อยไปกว่าความต้องการด้านอื่น
ๆ ซึ่งอยู่ที่การเลือกใช้สารนิเทศที่เหมาะสมและตรงกับความต้องการอย่างแท้จริง
3. ประเภทของวัสดุห้องสมุด
วัสดุห้องสมุดมีอยู่มากมายหลายรูปแบบนั้น
พอจะแบ่งตามลักษณะที่ปรากฏได้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
3.1 วัสดุประเภทสิ่งพิมพ์ (Printed materials)
3.2 วัสดุประเภทไม่ใช่สิ่งพิมพ์ (Non-Printed Materials)

เรื่อง ความหมายและประโยชน์วัสดุห้องสมุด
ชื่อ
...............................................................ชั้นมัธยมศึกษาปีที่........
คำชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันตอบคำถาม
ดังต่อไปนี้
1. ความหมายและประโยชน์วัสดุห้องสมุด หมายถึงอะไร
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
![]() |
ใบงานที่ 1
1. ความหมายของวัสดุห้องสมุด
วัสดุห้องสมุด (Library materials) หรือ วัสดุสารนิเทศ (Information Resources) หมายถึง
วัสดุที่ใช้เพื่อการอ่านและการศึกษาค้นคว้าทุกรูปแบบ ทุกสาขาวิชา ซึ่งห้องสมุดได้จัดหามา
และจัดเก็บรวบรวมเอาไว้เพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้ในห้องสมุด
2. ประโยชน์ของวัสดุห้องสมุด
วัสดุห้องสมุดมีความสำคัญและประโยชน์อย่างยิ่งต่อการศึกษาค้นคว้า
เสริมสร้างปัญญา ของคน ซึ่งพอสรุปได้ดังนี้
2.1 เป็นบันทึกแห่งภูมิปัญญาของมนุษย์ ใช้สืบทอดความคิด ความรู้ เรื่องราวต่าง
ๆ ศิลปวัฒนธรรม อารยธรรมจากคนรุ่นหนึ่งไปยังคนอีกรุ่นหนึ่งต่อ ๆ กันมา
ซึ่งวิชาความรู้เหล่านี้เป็นรากฐานสำคัญในการสร้างความเจริญรุ่งเรืองของสังคมมนุษย์
2.2 ความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร จากวัสดุห้องสมุดซึ่งมีอยู่หลายชนิดหลายรูปแบบ ช่วยขจัดความไม่รู้ในเรื่องต่าง
ๆ และสร้างสติปัญญา
2.3 ข้อมูลจากวัสดุห้องสมุดที่ถูกต้อง ครบถ้วน
และทันเวลาจะช่วยในการตัดสินใจแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การขาดสารนิเทศอาจทำให้เกิดปัญหาในการตัดสินใจ
ดังนั้นผู้บริหารยุคใหม่จึงควรมีข้อมูลหรือวัสดุห้องสมุดเพียงพอแก่การวางแผนเพื่อหลีกเลี่ยงข้อผิดพลาดต่าง
ๆ
2.4 ความรู้ ข้อมูลต่างๆ จากวัสดุห้องสมุดก่อให้เกิดการศึกษาค้นคว้าและการพัฒนาวิทยาการต่าง
ๆ ทั้งในด้านวิทยาศาสตร์ และสังคมศาสตร์
2.5 ความรู้จากทรัพยากรสารนิเทศบางชนิดก่อให้เกิดความจรรโลงใจ ความซาบซึ้ง เกิดความคิดสร้างสรรค์
ก่อให้เกิดแรงบันดาลใจในการคิด และทำแต่สิ่งที่ดีงามมีคุณค่าแก่การ ดำเนินชีวิต
2.6 หนังสือบางเรื่อง โสตทัศนวัสดุบางชนิดทำให้เกิดความเพลิดเพลิน
ผ่อนคลายความตึงเครียด ช่วยให้เกิดการพักผ่อนหย่อนใจ
ซึ่งมีผลสำคัญและเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการดำเนินชีวิตให้เป็นปกติสุขได้ไม่น้อยไปกว่าความต้องการด้านอื่น
ๆ ซึ่งอยู่ที่การเลือกใช้สารนิเทศที่เหมาะสมและตรงกับความต้องการอย่างแท้จริง
3. ประเภทของวัสดุห้องสมุด
วัสดุห้องสมุดมีอยู่มากมายหลายรูปแบบนั้น
พอจะแบ่งตามลักษณะที่ปรากฏได้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
3.1 วัสดุประเภทสิ่งพิมพ์ (Printed materials)
3.2 วัสดุประเภทไม่ใช่สิ่งพิมพ์ (Non-Printed Materials)
